Page 40 - yr23
P. 40
ห นั ง สื อ ป ที่ 23 ส ถา ป น า ม ก. ฉกส . ห น า | 35
คณะนักวิจัย มก.ฉกส. รวมกับทีมงาน สถาบันวิจัย วว.
ถายทอดเทคโนโลยีการยืดอายุ การเก็บรักษา และคงคุณภาพหัวทําพันธุหอมแบงแกชุมชน
เกษตรกรในพื้นที่ตําบลกุดฉิม และตําบลแสนพัน
อําเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม สวนใหญมีอาชีพ
เกษตรกรรม โดยปลูกหอมแบงหลังจากเสร็จสิ้นฤดูกาลทํา
นา พื้นที่ปลูกสวนใหญอยูบริเวณตลอดชายฝงแมน้ําโขง
คิดเปนพื้นที่ปลูกประมาณ 2,000 ไร ใหผลผลิตหอมแบง
ตอไรมากถึง 2,000 ตัน ออกสูตลาดกระจายสงขายไป
ทั่วประเทศ เมื่อถึงฤดูกาลปลูกหอมแบง (ชวงเดือน
พฤษภาคมของทุกป) เกษตรกรจําเปนตองสั่งซื้อหัวทําพันธุ
หอมแบงจากอําเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ ในราคากิโลกรัมละ 60 บาท ทําใหมีตนทุนการผลิตที่สูง ดังนั้น
เกษตรกรผูปลูกหอมแบงจึงตองการการสงเสริมสนับสนุนการคนควาวิจัย เรื่องวิธียึดอายุการเก็บรักษาหัว
ทําพันธุหอมแบงสําหรับนําเก็บไวปลูกในฤดูกาลตอไป โดยไมตองซื้อหัวทําพันธุหอมแบงจากที่อื่นมาใช เพื่อ
เปนการชวยลดตนทุนการผลิตใหแกเกษตรกร
คณะนักวิจัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติจังหวัดสกลนคร นําโดย
ผศ.ดร.สุรัสวดี พรหมอยู รวมกับทีมงาน
ผูรับผิดชอบโครงการฯ นําโดยคุณจิตตา สาตรเพ็ชร
นักวิจัย ศูนยเชี่ยวชาญนวัตกรรมเกษตร
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศ
ไทย (วว.) จึงไดดําเนินการศึกษาสภาพปญหาและ
ขอมูลตางๆ รวมทั้งไดดําเนินกิจกรรมการถายทอด
เทคโนโลยีการยืดอายุการเก็ษรักษา และคงคุณภาพหัวทําพันธุหอมแบงใหแกกลุมเกษตรกร ในวันที่ 9
มกราคม 2562 พรอมแจกคูมือที่ไดจัดทําขึ้นใหแกกลุมเกษตรกร ผูปลูกหอมแบง ณ ตําบลกุดฉิม อําเภอ
ธาตุพนม จังหวัดนครพนม อีกทั้งยังไดรวมพูดคุยและแลกเปลี่ยนประสบการณกับกลุมเกษตรกรผูเขารับการ
ถายทอดเทคโนโลยี เพื่อนําขอมูล ขอคิดเห็นและขอเสนอแนะตางๆ ไปใชในการพัฒนาและหาทางแกไข
สภาพปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นรวมกันตอไป